ชื่อผู้วิจัย
นางสาวชญานิษฐ์ เอี๋ยวสกุล
Category
Physical Therapy
Topic
ความสัมพันธ์ของภาวะเสี่ยงล้มเมื่อประเมินด้วย Timed up and go test และ Five times sit to stand test ในผู้สูงอายุวัยต้น
Abstract
การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะเสี่ยงล้มในผู้สูงอายุวัยต้น
เมื่ อป ร ะเ มิ น ด้ ว ย Timed up and go test (TUGT) แ ล ะ Five times sit to stand test (FTSST)
วิธีการวิจัย: อาสาสมัครผู้สูงอายุวัยต้นช่วงอายุ 60-69 ปีทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่อาศัยในเขตเทศบาลตาบล
เสาธงหินจ านวน 134 คน ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST จากนั้นวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ประเมินได้จากการทดสอบด้วย TUGT และ FTSST โดยสถิติ Pearson
correlation coefficient และทดสอบความสัมพันธ์ของผลประเมินภาวะเสี่ยงล้มระหว่าง TUGT และ FTSST
โดยสถิติ Chi-square test ผลการศึกษาพบความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ประเมินได้จากการทดสอบด้วย
TUGT และ FTSST อย่างมีนัยสาคัญอยู่ในระดับสูง (r=0.61; p = 0.001) และเมื่อพิจารณาผลประเมินตัดสิน
ภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ X2 (1, N = 134) =
10.23,p = 0.001 เช่นกัน สรุปได้ว่า การประเมินภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST ในผู้สูงอายุวัยต้นนั้น
มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญโดยมีเวลาที่ใช้เมื่อประเมินด้วยการทดสอบทั้งสองเครื่องมือที่สอดคล้องตาม
กันอยู่ในระดับสูง ดังนั้น หากประเมินพบความเสี่ยงล้มจากเครื่องมือใดเครื่องหนึ่งแล้วควรคานึงถึงความเสี่ยง
ล้มจากปัจจัยอีกด้านหนึ่งร่วมด้วย
เมื่ อป ร ะเ มิ น ด้ ว ย Timed up and go test (TUGT) แ ล ะ Five times sit to stand test (FTSST)
วิธีการวิจัย: อาสาสมัครผู้สูงอายุวัยต้นช่วงอายุ 60-69 ปีทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่อาศัยในเขตเทศบาลตาบล
เสาธงหินจ านวน 134 คน ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST จากนั้นวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ประเมินได้จากการทดสอบด้วย TUGT และ FTSST โดยสถิติ Pearson
correlation coefficient และทดสอบความสัมพันธ์ของผลประเมินภาวะเสี่ยงล้มระหว่าง TUGT และ FTSST
โดยสถิติ Chi-square test ผลการศึกษาพบความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ประเมินได้จากการทดสอบด้วย
TUGT และ FTSST อย่างมีนัยสาคัญอยู่ในระดับสูง (r=0.61; p = 0.001) และเมื่อพิจารณาผลประเมินตัดสิน
ภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ X2 (1, N = 134) =
10.23,p = 0.001 เช่นกัน สรุปได้ว่า การประเมินภาวะเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST ในผู้สูงอายุวัยต้นนั้น
มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญโดยมีเวลาที่ใช้เมื่อประเมินด้วยการทดสอบทั้งสองเครื่องมือที่สอดคล้องตาม
กันอยู่ในระดับสูง ดังนั้น หากประเมินพบความเสี่ยงล้มจากเครื่องมือใดเครื่องหนึ่งแล้วควรคานึงถึงความเสี่ยง
ล้มจากปัจจัยอีกด้านหนึ่งร่วมด้วย
Year Published
2566
Download PDF